วันพุธที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าในเพาเวอร์ซัพพลาย

          "สวัสดีคะพบกันอีกแล้วนะคะสำหรับการรีวิวสนุกๆวันนี้เพื่อนๆคงจะสงสัยว่าเราจะทำการรีวิวอะไรให้ชมอีกนา...เพื่อนๆคงอยากรู้แล้วงั้นเรามาเฉลยกันเลย วันนี้เราจะมารีวิวการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าในเพาเวอร์ซัพพลายกันนะคะ มาดูกันเลย"

อุปกรณ์ที่ใช้ในการวัด

เทอร์โมมิเตอร์แบบอนาล็อค(เราจะดูค่าได้จากเข็มที่ชี้ไปหาค่าที่วัดได้)

เทอร์โมมิเตอร์แบบดิจิตอล(เราจะดูค่าได้โดยจะมีตัวเลขขึ้นบนหน้าจอเลย)

เพาเวอร์ซัพพลาย

ตัวนำไฟฟ้า

เรามาเริ่มกันเลย

อันดับแรกเสียบขดลวดเข้าไปในพินช่อง 14 กับ 15

ต่อมาเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมเพื่อที่จะทำการวัด

ต่อมาทำการวัดเลย(นี้คือเพื่อนร่วมกลุ่ม)ไอ้เราก็จดๆๆค่าไป

ถึงทีของเราวัดบ้างเย้ๆ

เสร็จแล้วๆเย้ๆมาดูค่าที่วัดได้เลย

ค่าที่วัดได้เปรียบเทียยบกับค่ามาตรฐานของสายแต่ละสี

         "และนี้ก็เป็นการวัดความต่างศักไฟฟ้าในเพาเวอร์ซัพพลาย ง่ายใช่ไหมละเห็นแค่รูปภาพเพื่อนๆอาจจะยังไม่เชื่อว่าเราวัดจริงๆ แต่เราวัดจริงๆนะ 555 เพื่อที่เราจะได้เห็นวิธีการปฏิบัติที่ชัดเจนยังขึ้นเรามาชมคลิปวิดีโอที่ชัดเจนที่สุดกันเลย"


                                      วิดีโอสาธิตวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าในเพาเวอร์ซัพพลาย

               "เพื่อนๆได้ชมคลิปกันไปเเล้วเป็นไงกันบ้างสุดยอดไปเลยใช่ไหมละ สุดท้ายนี้ก็คงจะเป็นไปเหมือนบล็อกอื่นๆ ขอขอบคุณเพื่อนๆที่เข้ามาชมบล็อก ถ้าผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ โอกาสนี้ ขอบคุณมากๆคะ(อย่าลืมติดตามชมตอนต่อไปนะว่าจะมารีวิวอะไรให้ดู อย่าลืมติดตามกันละ) บ๊ายๆๆแล้วเจอกันใหม่นะเพื่อนๆ"










วันอาทิตย์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

การ เปิด ปิดและรีสตาร์ทคอมพิวเตอร์นอกเคส

           "พบกันอีกแล้ว อันดับแรกต้องขอสวัสดีเพื่อนๆกันก่อนนะคะ มาพบกันอีกแล้ว สำหรับวันนี้เราจะมา รีวิวการ เปิด ปิด และรีสตาร์ทเครื่องคอมพิวเตอร์นอกเคสกันนะคะ เพื่อนๆหลายคนคงสงสัยว่ามันทำยังไงต้องทำแบบไหน จะยากไหม ต้องเตรียมตัวยังไง และอีกหลายๆคำถามในใจนะคะอย่าตกใจคะ อยากจะลอกว่าไม่ยากเลยคะ ง่ายๆขอแค่จิ้มให้ถูกพอ เพื่อนๆคงสงสัยว่าจิ้มอะไร อันดับแรกเรามาดูว่าอุปกรณ์ที่สำคัญในการออนนอกเคสจะประกอบไปด้วยอะไรบ้างมาดูกันเลย"



มาดูส่วนประกอบที่สำคัญในการออนนอกเคสกันนะคะ

กำลังถอดๆออก

           1. ก็จะมีเพาเวอร์ซัพพลายที่ถอดออกเป็นสิ่งที่จำเป็นในการเปิด ปิดและรีสตาร์ทเครื่องนอกเคสคะเพราะเป็นตัวจ่ายไฟฟ้านั้นเอง

เพาเวอร์ซัพพลาย
           
           2. ก็จะเป็นฮาร์ดดิสก์นะคะที่ต้องถอดออก เพราะถ้าไม่มีฮาร์ดดิสก์เปิดเครื่องไม่ติดแน่นอน

ฮาร์ดดิสก์จำเป็นๆ
         
             3. ต่อไปก็จะเป็นตัวประมวลผลที่จำเป็นและสำคัญเวลาเปิดเครื่องนอกเคส

CPU อยู่ใต้พัดลมนี้แงะต่อเลย



นี้ไง CPU Pentium 4 เลยนะ
          
            4. ต่อมาเป็นสายแพสำหรับต่อฮาร์ดดิสก์กับเมนบอร์ด

สายแพแบบ 80 เส้นที่เรานำทาต่อฮาร์ดดิสก์
          
           5. ต่อมาที่ขาดไม่ได้ก็คือจอภาพในการดูนั้นเอง

จอภาพเพื่อที่จะใช้ดูในการเปิดเครื่องนอกเคสนั้นเอง
          
            6. สิ่งนี้ขาดไม่ได้เลยนะเอาไว้จิ้มๆนั้นก็คือ

ไขควงนั้นเอง
         
             “ตอนนี้อุปกรณ์ที่สำคัญก็พร้อมแล้วประกอบกันเลยเร็วๆ” 

  เมื่อประกอบเสร็จก็ตามรูปข้างบนเลยนะคะ


        "อันดับแรกมาดูแมนบอร์ดของจริงกับใน datasheet ที่เป็นรุ่นเดียวกัน มาดูเลย"
        
นี้คือแมนบอร์ดของเรานะคะที่เราจะทำการทดลอง เป็นยี้ห้อ Acer

เมนบอร์ดของจริง

เมนบอร์ดจาก DataSheet ยี้ห้อ Acer รุ่นเดียวกันเราจะนำมาให้ดูเพื่อความชัดเจน


มาดูวิธีจิ้มๆกันเลย          


          1. วิธีเปิดเครื่องให้ใช้ไขควงจิ้มที่พิน 6 กับพิน 8 ให้จิ้มแค่เครื่องติดแล้วให้ยกไขควงออกทันที(ห้ามจิ้มผิดพินแผงวงจรจะพังต้องจิ้มด้วยความตั้งใจห้วมประมาทต้องนิ่งๆเข้าไว้)     
                   
รูปตัวอย่างในการจิ้มเพื่อเปิดเครื่อง
    
           2. วิธีปิดเครื่องให้ใช้ไขควงจิ้มที่พิน 6 กับพิน 8 ให้จิ้มแค่เครื่องปิดแล้วให้ยกไขควงออกทันที(ห้ามจิ้มผิดพินแผงวงจรจะพังต้องจิ้มด้วยความตั้งใจห้วมประมาทต้องนิ่งๆเข้าไว้เหมือนเดิมนะคะ)
รูปตัวอย่างในการจิ้มเพื่อปิดเครื่อง

           3. วิธีรีสตาร์ทเครื่องให้ใช้ไขควงจิ้มที่พิน 5 กับพิน 7 ให้จิ้มแค่เครื่องติดแล้วให้ยกไขควงออกทันที(ห้ามจิ้มผิดพินแผงวงจรจะพังต้องจิ้มด้วยความตั้งใจห้วมประมาทต้องนิ่งๆเข้าไว้เหมือนเดิม)


รูปตัวอย่างในการจิ้มเพื่อรีสตาร์ทเครื่อง

                       "เรามาดูคลิปวิดีโอที่เราทำการทดสอบมาให้เพื่อนๆดูกันเลยคะมาดูกันเลยยยย"

                                         ถึงวิดีโอจะไม่คอยมีสาระแต่มีความรู้นะอิอิ

           "เหมือนเดิมเช่นเคยนะคะสุดท้ายนี้ก็ต้องขอขอบคุณเพื่อนๆที่เข้ามาชมบล์อกทุกท่าน หากบล็อกนี้มีข้อผิดพลาดประการใดก็ข้อให้คำแนะนำโดยการแสดงความคิดเห็นข้างล่างด้วยนะคะหรือถ้าหากมีข้อผิดพลาดประการใดต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยนะคะ ขอบคุณทุกท่านที่เข้ามาเยี่ยมชม แล้วเจอกันใหม่นะ บ๊ายบายยยยย"













วันศุกร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

รีวิวการเปลี่ยนพัดลมเพาเวอร์ซัพพลาย

          "สวัสดีคะวันนี้เรามาพบกันอีกแล้วตามเคยกับการรีวิวอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สำหรับวันนี้เราจะมารีวิวการเปลี่ยนพัดลมในเพาเวอร์ซัพพลาย โดยการเปลี่ยนพัดลมเพาเวอร์ซัพพลายนั้นจะมีอยู่ วิธีด้วยกัน คือ วิธีแรกเป็นวิธีที่ง่ายมากๆคือการตัดสายไฟที่ต่อพัดลมแล้วนำพัดลมใหม่มาต่อเข้าและทำการพันสายไฟให้เหมือนเดิม ส่วนวิธีที่สอง คือการเปลี่ยนพัดลมโดยการบัดกรีที่แพงวงจรวิธีนี้ค่อนข้างที่จะยากเพราะต้องมีอุปกรณ์ในการทำ และสำหรับวันนี้เพื่อนๆคิดว่าเราจะมารีวิววิธีไหนให้ดูเอาคิดเร็ว ๆ 555+ สำหรับวันนี้นะคะเราเก่งอยู่แล้ว 555+ เราจะมารีวิวการเปลี่ยนพัดลมในเพาเวอร์ซัพพลายแบบการบัดกรีที่แผงวงจรนะคะ ในอันดับแรกเรามาดูอุปกรณ์ที่ใช้กันเลยยย"

อุปกรณ์ที่ใช้ในการเปลี่ยนพัดลมเพาเวอร์ซัพพลายแบบบัดกรี

ตะกั่ว

หัวแร้ง


ที่ดูดตะกั่ว

ที่วางหัวแร้ง

น้ำยาประสานสำหรับบัดกรี(Flux)

มาดูขั้นตอนการทำ
            ขั้นที่ 1 เราจะทำการแกะเคสออกแล้วทำการเอาเจ้าตัวเพาเวอร์ซัพพลายออกมาเลย

แกะเคสออกเลย

ได้มาแล้วเพาเวอร์ซัพพลาย

แกะฝาครอบออกเสร็จแล้ว

              ขั้นที่ 2 ดูพัดลมที่จะนำมาเปลี่ยนแล้วทำการหมุนแกะออก(นี้เป็นการรีวิวเราจึงต้องเปลี่ยนพัดลมกับเพื่อนอีกกลุ่มหนึ่งซึ่งพัดลมมีขนาดและรุ่นเดียวกันโดยดูจาก Data Sheet ) เรามาดูกันเลย


ทำการบัดกรีตรงแผงวงจรตรงที่เป็นสายไฟสีแดงกับสีดำ

เพื่อนกำลังบัดกรีสายไฟออกจากแผงวงจร

นี้คือกลุ่มเพื่อนที่เราจะทำการเปลี่ยนพัดลมด้วย กำลังบัดกรีสายไฟออกเหมือนกัน

              ขั้นที่ 3 เมื่อบัดกรีสายไฟออกจากแพงวงจรสำเสร็จเราก็ทำการเปลี่ยนพัดลมกับเพื่อนแล้วทำการบัดกรีเข้าแผงวงจรเหมือนเดิม
เมื่อบัดกรีเสร็จก็จะเป็นแบบนี้นะคะ

หมุนลำโพงให้เข้าที่เดิม

เสร็จเรียบร้อยทั้งสองกลุ่มที่ทำการเปลี่ยนพัดลมกัน


                 ขั้นที่ 4 ขั้นตอนสุดท้ายเมื่อเปลี่ยนอุปกรณ์เสร็จเราจะทำการทดสอบพัดลมที่ทำการเปลี่ยน โดยการทดสอบพัดลมเมื่อเสียบไฟเข้าไปพัดลมจะไม่ทำงานให้เรานะตัวนำไฟฟ้า ลวด หรืออะไรก็ได้ที่เป็นตัวนำไฟฟ้าใส่เชื่อมต่อระหว่างพินช่องที่ 4 และ 5 ของแถวบนให้นับจากซ้ายไปขวานะคะ มาดูกันเลยคะ


 นี้คือคลิปวิดีโอที่ทำการทดสอบพัดลมที่เปลี่ยนเสร็จ

นี้คือรูปภาพตัวอย่างการทดสอบนะคะสำหรับการใส่โลหะที่พินช่องที่ 4 และพินช่องที่ 5

ทำการทอสอบการเปิดเครื่องเมื่อเปลี่ยนเสร็จ

เปิดเครื่องติดแล้วเย้ๆ

ดีใจๆ ทำสำเร็จ

             "สำหรับในช่วงสุดท้ายของการรีวิวการเปลี่ยนพัดลมของเพาเวอร์ซัพพลายครั้งนี้ก็จบลงเพียงแค่นี้ ถ้ามีข้อผิดพลาดประการใดก็ขออภัย ณ ที่นี้ด้วยหากมีข้อแนะนำประการใดโปรดแสดงความคิดเห็นใต้โพสต์เลยนะคะ ขอบคุณมากๆที่เข้าเยี่ยมชมบล็อกคะ แล้วพบกันใหม่โอกาสหน้าคะ"